วันอังคารที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
วันอังคารที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
วันอาทิตย์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2554
วันพฤหัสบดีที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2554
รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์สุจิตรา จันทร์ลอย
ปีการศึกษา 2/2553
ประวัติส่วนตัว
นางสาวธนพรรธ ศรีสมุทร (จ๋า♫)
วันเกิด
14 ตุลาคม พ.ศ.2528
ที่อยู่ปัจจุบัน
19 หมู่ 9 ตำบลหนองโพ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี 70120
การศึกษา
ปวส.ช่างอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
วิทยาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี
ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง (กำลังศึกษา)
ประวัติการทำงาน
- ฝ่ายธุรการ บริษัทประกิตมอเตอร์เซลส์ สำนักงานใหญ่ ,สาขาโพธาราม
- ครูผู้สอน โรงเรียนเจี้ยไช้ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี
E- mail
Jahja1410@gmail.com
benzine_p28@hotmail.com
คติประจำใจ
"ทุกสิ่งล้วนแต่เข้ามาแล้วผ่านไป ถ้าไม่รีบคว้ามันเอาไว้ อย่ามาบ่นว่า เสียดายในภายหลัง"
"ถ้าทุกสิ่งกำลังจะเปลี่ยนไป เราก้อคงต้องเข้าใจในการเปลี่ยนแปลง"
Contour Drawing
คือ การวาดเส้นตามสัมผัส โดยการใช้สายตามองที่ภาพต้นแบบแล้วใช้มือวาดไปตามความรู้สึกโดยไม่มองที่กระดาษ
สิ่งที่ได้จากการวาดภาพ Contour Drawing
1. สมาธิ
2. ความซื่อสัตย์
3. ความตื่นเต้น
4. ความสัมพันธ์ระหว่างตากับมือ
5. การไม่ต้องคำนึงความเหมือนจริงของภาพ
สิ่งที่ได้จากการวาดภาพ Contour Drawing
1. สมาธิ
2. ความซื่อสัตย์
3. ความตื่นเต้น
4. ความสัมพันธ์ระหว่างตากับมือ
5. การไม่ต้องคำนึงความเหมือนจริงของภาพ
ความรู้เรื่องรูปภาพ
Realistic คือ ภาพเหมือนจริง จิตรกรต้องการสัดส่วนที่แท้จริง
Distrotion คือ ภาพล้อเลียน ภาพบิดเบือน ลดตัดทอน เช่น ภาพล้อเลียนตามหนังสือพิมพ์
Abstract คือ ภาพนามธรรม ภาพจินตนาการ จิตรกรไม่ต้องการให้รู้ว่าภาพอะไร ต้องการแค่สื่อความรู้สึกเท่านั้น
"หัวใจของการวาดภาพ คือ ลายเส้น"
เทคนิคขั้นพื้นฐานของการวาดภาพ
1. การกำหนดจุดเพื่อกำหนดขนาด
2. ลากเส้นจากภายนอกก่อนภายใน
3. การแรเงาเก็บรายละเอียด
ความรู้เรื่อง สี
สีแบ่งเป็น 2 โทน
- สีโทนร้อน
- สีโทนเย็น
สีโทนเย็น
- ชุดที่ 1 ได้แก่ ดำ, น้ำเงิน, เขียวแก่
- ชุดที่ 2 ได้แก่ น้ำเงิน, เขียวแก่, เขียวอ่อน
- ชุดที่ 3 ได้แก่ เขียวแก่, เขียวอ่อน, เหลือง
สีโทนร้อน
- ชุดที่ 1 ได้แก่ เหลือง, ส้ม, แดง
- ชุดที่ 2 ได้แก่ ส้ม, แดง, น้ำตาล
- ชุดที่ 3 ได้แก่ แดง, น้ำตาล, ดำ
สีชุดพิเศษ (ฟ้า ชมพู ม่วง)
- Tint = Hue+White
- สีน้ำเงิน + สีขาว = สีฟ้า
- สีแดง + สีขาว = สีชมพู
- Shape = Hue+Black
- สีโทนร้อน
- สีโทนเย็น
สีโทนเย็น
- ชุดที่ 1 ได้แก่ ดำ, น้ำเงิน, เขียวแก่
- ชุดที่ 2 ได้แก่ น้ำเงิน, เขียวแก่, เขียวอ่อน
- ชุดที่ 3 ได้แก่ เขียวแก่, เขียวอ่อน, เหลือง
สีโทนร้อน
- ชุดที่ 1 ได้แก่ เหลือง, ส้ม, แดง
- ชุดที่ 2 ได้แก่ ส้ม, แดง, น้ำตาล
- ชุดที่ 3 ได้แก่ แดง, น้ำตาล, ดำ
สีชุดพิเศษ (ฟ้า ชมพู ม่วง)
- Tint = Hue+White
- สีน้ำเงิน + สีขาว = สีฟ้า
- สีแดง + สีขาว = สีชมพู
- Shape = Hue+Black
วิธีประดิษฐ์ตัวอักษรหัวเรื่อง
การใช้เส้นคู่ขนาน
- เขียนเส้นแกนตัวอักษรให้แต่ละตัวห่างกันพอสมควร
- เขียนเส้นขนาบตามทิศทางของเส้นแกน
- ตกแต่งให้สวยงามและอาจลบเส้นแกนออกก็ได้
คุณค่าของตัวอักษรหัวเรื่อง
- สรุปภาพรวมของเนื้อหา
- เร้าความสนใจ
- สื่อความหมายได้รวดเร็ว
ลักษณะตัวอักษรหัวเรื่องที่ดี
- ขนาดใหญ่
- ได้ใจความ
- เด่น
- สั้น
- สวยงาม
การสื่อความหมายด้วยรูปแบบตัวอักษร
ในการจัดทำสื่อหรือนวัตกรรมต่างๆ หากไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการจัดทำแล้ว ปัญหาเรื่องความไม่สวยงามก็อาจเกิดขึ้น แต่หากสามารถออกแบบและสร้างงานด้วยการวาดภาพ และประดิษฐ์ตัวอักษรให้สวยงามได้ด้วยตนเอง เราก็สามารถจะจัดทำสื่อหรือนวัตกรรมที่มีความสวยงามและดึงดูดใจนักเรียนได้ โดยไม่ต้องอาศัยเทคโนโลยีอย่างคอมพิวเตอร์ ซึ่งการประดิษฐ์ตัวอักษรจัดเป็นขั้นเริ่มต้นของการผลิตสื่อให้เป็นที่น่าสนใจ เพราะรูปแบบตัวอักษร สามารถสื่อความหมายได้ จากการใช้เส้นต่างๆ เช่น
การใช้เส้นตรง จะให้ความรู้สึกที่แข็งแรง มั่นคง
การใช้เส้นปะ ขาดๆ หายๆ จะให้ความรู้สึกที่ไม่แน่นอน ลึกลับ
การใช้เส้นโค้ง จะให้ความรู้สึก รัก ความอ่อนโยน
การใช้เส้นซิกแซก จะให้ความรู้สึก น่ากลัว น่าเกลียด
การใช้เส้นอย่างอิสระ ไม่เป็นระเบียบ จะให้ความรู้สึก ตลก ขบขัน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)